ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อกของ พันธกร พวงเดช

วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

   
             


เลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง

เลขยกกำลัง ใช้พื้นฐานเรื่องการคูณกันของจำนวน แล้วนำมาเขียนให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง 
ในบทนี้จะได้เรียนเรื่องเลขยกกำลัง การบวกลบคูณและหารเลขยกกำลัง สูตรต่างๆ ของเลขยก
กำลังการถอดรากที่ n ในระบบจำนวนจริง การหารากที่สองของจำนวนอตรรกยะ และการแก้สมการที่ติดเครื่องหมายราก เรื่องเลขยกกำลังเป็นพื้นฐานสำคัญของเรื่องเอกซ์โพเนนเชียล และ ลอการิทึม


วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2559

ฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน

ความหมายของฟังก์ชัน จากความรู้เรื่องความสัมพันธ์ที่เรียนมาแล้ว พิจารณาความสัมพันธ์ต่อไปนี้
1. กำหนดให้
r1 = { (0,1), (1,2), (2,3), (1,1), (0,4) }

r= { (0,3), (1,1), (2,1), (3,4) }

ถ้าต้องการแสดงว่าสมาชิกใดของโดเมนมีความสัมพันธ์กับสมาชิกใดของเรนจ์อาจจะใช้วิธี
เขียนลูกศรโยงเรียกว่าการจับคู่ เช่นจากความสัมพันธ์ r1 และ r2เขียนแผนภาพแสดงการจับคู่ได

ใน r1 มีคู่อันดับที่สมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน แต่สมาชิกตัวหลังต่างกัน คือ (0,1) กับ (0,4) และ
(1,1) กับ (1,2) ส่วนใน r2 สมาชิกตัวหน้าของแต่ละคู่อันดับไม่เหมือนกันเลย นั่นคือแต่ละสมาชิก
ในโดเมนของ r2 จะจับคู่กับสมาชิกในเรนจ์ของ r2 เพียงตัวเดียวเท่านั้น
ความสัมพันธ์ที่มีลักษณะดังใน (1), (2) และความสัมพันธ์ r2 ใน (3) เรียกว่า ฟังก์ชัน